ตำนานพระพุทธเจดีย์

BIA-P.1/52-24

ตำนานพระพุทธเจดีย์

ตำนานพระพุทธเจดีย์

พระนิพนธ์ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ

หม่อมเจ้า สุภัทรดิศ ดิศกุล ทรงทำเชิงอรรถเพิ่มเติม

- พิมพ์ครั้งที่ [พ.ศ. 2510]

[1] - [235]

หมายเหตุ

- มีลายมือเขียนที่หน้าปกว่า "พุทธทาส อินฺทปัญฺโญ" , "ฉบับพิมพ์หลังสุด พ.ศ. ๒๕๑๐."

- มีลายมือเขียนที่ปกรองว่า "พ. อินทปัญโญ เอื้อเฟื้อของ คุณเพื่อน สินธุโสภณ. ๒๕ มค. ๑๑"

- มีลายมือเขียนที่หน้า 3 ว่า " * คงจะเป็นหนังสือชั้นฎีกามหาปรินิพพานสูตร ( ? ), ต้องค้นดูอีกที"

- มีลายมือเขียนที่หน้า 4 ว่า " * อย่าไปหลงว่าเป็น นครเทวทห."

- มีลายมือเขียนที่หน้า 5 ว่า " * คงนึกถึงเจดีย์ต่างๆ ที่กล่าวไว้ในบาลีโดยตรง เช่นปาวาลเจดีย์,

พหุปุตตกเจดีย์ ฯลฯ ในบาลีทีฆนิกาย; และเรื่องอเจลกะหลอกลวงคนหนึ่งที่ "ไม่เท่าไหร่ก็ล้วงเกินเจดีย์ทุกแห่ง." ,

" ** เชื่อลิ้นลังกา "ได้ลูกเป็นลิง." , " *** คงไม่ทราบเรื่องหัมมิกา หรืออาสนะยอดสถูป"

- มีลายมือเขียนที่หน้า 7 ว่า " * นี้เฝือไปแล้ว, สองแห่งที่กล่าวนี้ ต้องนับเข้าในธาตุเจดีย์เพราะเกี่ยวกับพระธาตุ. ส่วนบริโภคเจดีย์นั้นคือสถานที่,

และสิ่งของ, ที่พระองค์เคยทรงอาศัยและใช้สรอย." ,

" * นี่แสดงว่า ไม่รู้เรื่องคาถาพระอัสชิ, ทำนองเดียวกับพระจอมเกล้าทรงวิจารณ์เรื่องจารึก เย ธมฺมาฯ ที่พบที่นครปฐม,

ดังที่ปรากฏอยู่ในหนังสือพระราชวิจารณ์นั้น."

- มีลายมือเขียนที่หน้า 8 ว่า " * ถ้าเล็งถึงภาพสาญจีและภารหุต นับว่ายังเข้าใจไม่ตรง, คือไม่หมายถึงลัทธิห้ามรูปเหมือน."

- มีลายมือเขียนที่หน้า 13 ว่า " * สมัยนี้เปลี่ยนเป็นเพียงไปไหว้ - บลบาล ฯลฯ"

- มีลายมือเขียนที่หน้า 15 ว่า " * นี้หมายความว่า วัดอย่างเชตวัน, บุพพาราม, เวฬุวัน ฯลฯ มิใช่สังฆาวาสหรืออย่างไร ?

แต่อย่างไรก็ได้กลายเป็นสังฆาวาสขึ้นในชั้นหลังจนหมดทุกแห่ง."

- มีขีดเส้นใต้ หน้า 13

พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานฌาปนกิจศพ

นางสัมฤทธิ์ สุขประยูร

ณ เมรุวัดธาตุทอง พระโขนง

วันที่ ๒๖ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๑๐

พ.ศ. 2510

Item

สิ่งพิมพ์บนกระดาษ ปกอ่อน จำนวน 235 หน้า และมีลายมือของพุทธทาสภิกขุเขียนด้วยปากกา