ธมฺมปทฏฺฐกถา

BIA-P.1.2.1/2

ธมฺมปทฏฺฐกถา

ธมฺมปทฏฺฐกถา

อรรถกถาธรรมบทเป็นหนังสืออธิบายบทธรรม ที่มาในขุททกนิกาย สำนวนที่คณะสงฆ์ไทยใช้เป็นคู่มือเรียนบาลีเป็นสำนวนที่พระจุลลพุทธโฆสะเรียบเรียงมาจากสัทธรรมรัตนาวลี ของพระธรรมเสนเถระ เมื่อ พ.ศ. 1800 ในลังกา เนื้อหาครอบคลุมพุทธธรรม โดดเด่นทางไวยากรณ์บาลี องค์ความรู้ด้านอื่น เช่น ประวัติศาสตร์ โบราณคดี ปรัชญา เป็นต้น ผู้แต่งให้ความสำคัญไวยากรณ์บาลี ถ้าผู้เรียนไม่เข้าใจไวยากรณ์จะไม่เข้าใจภาษาและความหมาย การอธิบายมีอุปมาอุปไมย มีตัวอย่างเพื่อให้เข้าใจชัดขึ้น อธิบายนามธรรมให้เห็นเป็นรูปธรรม จบลงด้วยพุทธสุภาษิต

ประกอบด้วยเรื่อง

ธมฺมปทฏฺฐกถา ภาค ๑ หน้า [1] - [165]

พระธมฺมปทฏฺฐกถา ภาค ๒ หน้า [166] - [291]

พระธมฺมปทฏฺฐกถา ภาค ๓ หน้า [292] - [477]

พระธมฺมปทฏฺฐกถา ภาคสี่ หน้า [478] - [609]

หมายเหตุ

- มีประทับตราด้วยหมึกสีน้ำเงิน ภายในวงกลมเขียนว่า "สุสฺสูสํ ลภเตปญฺญํ ตู้สมุดพานิช" ที่ใบรองปก, ปกรอง

- มีลายมือเขียนที่หน้า กิตฺตน ปตฺต

- มีลายมือเขียนด้วยดินสอ เป็นภาษาบาลีและภาษาไทย หน้า 1-2, 6-7, 10-17, 19-41, 43, 46-47, 50-56, 59-64, 67-68, 71-90, 92-140, 142-145

- มีกระดาษเขียนด้วยดินสอและปากกา จำนวน 3 หน้า และรูปถ่ายพุทธทาสภิกขุในอิริยาบถนั่ง ขนาด 2 X 3.5 ซม. จำนวน 2 รูป

- มีลายมือเขียนด้วยดินสอ เป็นภาษาบาลีและภาษาไทย หน้า 203, 205-207, 214-230, 233-290

- มีลายมือเขียนด้วยดินสอ เป็นภาษาบาลีและภาษาไทย หน้า 291-315, 319-324, 326-359, 363-451, 453-460, 463-468

- มีลายมือเขียนด้วยดินสอ เป็นภาษาบาลีและภาษาไทย หน้า 475-486, 88-494, 496-505, 507-510, 512, 514-515, 517, 519-521, 523, 526-529, 532-542, 544-548, 550-601, 603, 607

พ.ศ. 2469

Item

สิ่งพิมพ์บนกระดาษ ปกแข็ง จำนวน 609 หน้า

อรรถกถาธรรมบท, ขุททกนิกาย, อธิบายธรรม

อธิบายธรรม, ขุททกนิกาย, อรรถกถาธรรมบท