ปปญฺจสูทนิยา นาม มชฺฌิมนิกายฏฺฐกถาย ทุติโย ภาโค มูลปณฺณาสก วณฺณนา

BIA-P.1.2/53 กล่อง 10

ปปญฺจสูทนิยา นาม มชฺฌิมนิกายฏฺฐกถาย ทุติโย ภาโค มูลปณฺณาสก วณฺณนา

ปปัญจสูทนี มีลักษณะเดียวกับคัมภีร์อรรถกถาอื่นๆ กล่าวคือ ผู้รจนา จะกล่าวถึงเบื้องหลังที่มีการแสดงพระสูตรนั้น

มีการอธิบายคำศัพท์สำคัญในพระสูตร และมีการอธิบายเพิ่มเติมรายละเอียดของข้อธรรมซึ่งองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า

ทรงแสดงในพระสูตรนั้น ๆ โดยแบ่งเป็น 3 ภาค ตามลักษณะการแบ่งหมวดหมู่ของมัชฌิมนิกาย

'อรรถกถาบาลี เล่ม 8 ปปัญจสูทนี ภาค 2 อรรถกถามัชฌิมนิกาย หมวดมูลปัณณาสก์ อธิบายสีหนาทวรรค 10 พระสูตร คือ

จุลสีหนาทสูตร, มหาสีหนาทสูตร, มหาทุกขักขันธสูตร, จุลทุกขักขันธสูตร, อนุมานสูตร, เจโตขีลสุตร, วนปัตถปริยายสูตร,

มธุปิณฑิกสูตร, เทวธาวิตักกสูตร, วิตักกสัณฐานสูตร, โอปัมมวรรค 10 พระสูตร คือ กกจูปมสูตร, อลคัททูปมสูตร, วัมมิกสูตร,

รถวินีตสูตร, นิวาปสูตร, ปาสราสิสูตร, จุลหัตถิปโทปมสูตร, มหาหัตถิปโทปมสูตร, มหาสาโรปมสูตร, จุลสาโรปมสูตร,

มหายมกวรรค 10 พระสูตร คือ จุลโคสิงคสาลสูตร, มหาโคสิงคสาลสูตร, มหาโคปาลสูตร, จุลโคปาลสูตร, จุลสัจจกสูตร,

มหาสัจจกสูตร, จุลตัณหาสังขยสูตร, มหาตัณหาสังขยาสูตร, มหาอัสสปุรสูตร, จุลอัสสปุรสูตร, จูฬยมกวรรค 10 พระสูตร คือ

สาเลยยกสูตร, เวรัญชกสูตร, มหาเวทัลลสูตร, จูฬเวทัลลสูตร, จุลธรรมสมาทานสูตร, มหาธรรมสมาทานสูตร, วีมังสกสูตร,

โกสัมพิยสูตร, พรหมนิมันตนิกสูตร, มารตัชชนียสูตร

พิมพ์ครั้งที่ [พ.ศ. 2463]

[1] - [611]

ซ้ำ 2 เล่ม

หมายเหตุ

อรรถกถาบาลี เล่ม 8 ปปัญจสูทนี ภาค 2 อรรถกถามัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์

พ.ศ. 2463

Item

สิ่งพิมพ์บนกระดาษ ปกอ่อน จำนวน 611 หน้า

ปปญฺจสูทนิยา นาม มชฺฌิมนิกายฏฺฐกถาย ทุติโย ภาโค มูลปณฺณาสก วณฺณนา

ท. ธมฺมธเชน เทวตรุณานุสิฏฺเฐน อุปเสวเกน โสธิตา

๒๔๖๓ พุทฺธสเก มุทฺทิตา ปฐเม วาเร

สฺยามรฏฺฐสฺส ราชธานิยํ มหามกุฏราชวิทฺยาลเยน ปกาสิตา ๒๔๖๓

กรุงเทพฯ โรงพิมพ์ไท ถนนรองเมือง

ปปัญจสูทนี, อรรถกถามัชฌิมนิกาย

ปปัญจสูทนี, อรรถกถามัชฌิมนิกาย