พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ แปล ภาคหนึ่ง

BIA-P.1.2/98 กล่อง 15

พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ แปล ภาคหนึ่ง

พระไตรปิฏกแปลไทย เล่ม 12 สุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย มูลปัณณาสก์ แปล ภาคหนึ่ง

มีพระสูตรขนาดกลาง 50 สูตร บางสูตรอาจจะคุ้นชื่อ เช่นธรรมทายาทสูตร สัมมาทิฏฐิสูตร สติปัฏฐานสูตร รถวินีตสูตร วีมังสกสูตร

พิมพ์ครั้งที่ [พ.ศ. 2469]

[1] - [289]

หมายเหตุ

-มีรูปถ่ายขนาด 2 x 2.5 ซม.จำนวน 1 รูปที่ปกรอง

-มีลายมือเขียนตัวเลขไทยด้วยปากกาและดินสอที่หน้า 8 , 12 , 14 - 17 , 24 , 27 , 121 , 123 - 131 , 187 , 189 , 217 , 249 , 260 , 262 , 264 , 265 , 267 - 270

-มีลายมือเขียนด้วยดินสอที่หน้า 14 ว่า "ปัจจเวกขณ์ปัจจัย ๔"

-มีลายมือเขียนด้วยดินสอที่หน้า 15 ว่า "ขันติ ๓"

-มีลายมือเขียนด้วยดินสอที่หน้า 26 ว่า "ที่เปนไปเพื่อการ" , "ที่เปนไปอย่างเรือนๆ"

-มีลายมือเขียนด้วยดินสอที่หน้า 133 ว่า "วัตร ๔"

-มีลายมือเขียนด้วยปากกาหมึกสีดำที่หน้า 138 ว่า "เด็กเลี้ยง"

-มีลายมือเขียนด้วยปากกาหมึกสีดำที่หน้า 139 ว่า "โต" , "เท่านี้เปนอย่างยิ่ง" , "เหมือนผลกะเบา"

-มีลายมือเขียนด้วยปากกาหมึกสีแดงที่หน้า 161 ว่า "ปฏิเสธ"

-มีลายมือเขียนด้วยดินสอที่หน้า 218 ว่า "อุปมา"

-มีลายมือเขียนด้วยดินสอที่หน้า 220 ว่า "มีจักษุ"

-มีลายมือเขียนด้วยดินสอที่หน้า 258 ว่า "วิญญาณที่พวกเทวดาหาไม่พบ."

-มีลายมือเขียนด้วยดินสอที่หน้า 259 ว่า "(คือชาติก่อนๆ เคยมีมาแล้ว หย่างซ้ำๆซากๆ ไม่รู้สึกแปลกปลาด"

-มีลายมือเขียนด้วยดินสอที่หน้า 285 ว่า "ฌาน ๔"

-มีเครื่องหมายแทรกข้อความ หน้า 26, 138

-มีเครื่องหมายดอกจัน * หน้า 161

-มีขีดเส้นใต้ หน้า 26 - 27, 34, 38, 65, 102, 109, 117, 126 -131, 145, 171, 217, 259 - 261, 267, 282

-มีเครื่องหมายกากบาท x หน้า 27, 34, 38, 102, 109, 117, 121, 123, 125, 143, 145, 167, 207, 259, 267, 277, 281

-มีเครื่องหมายถูก ü หน้า 143, 167, 203, 209

-มีเครื่องหมายบวก + ลูกศรชี้ลง â หน้า 169

-มีเครื่องหมายปรัศนี ? หน้า 251

-มีเครื่องหมายทับ / หน้า 278 - 279, 282 - 286

พ.ศ. 2469

Item

สิ่งพิมพ์บนกระดาษ ปกแข็ง จำนวน 289 หน้า

พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ แปล ภาคหนึ่ง

มีกรรมสิทธิตามพระราชบัญญัติ

โรงพิมพ์ไท ถนนรองเมือง จังหวัดพระนคร พิมพ์ พ.ศ. ๒๔๖๙

สุตตันตปิฎก, มัชฌิมนิกาย, มูลปัณณาสก์

สุตตันตปิฎก, มัชฌิมนิกาย, มูลปัณณาสก์