พุทธสาสนสุภาสิต เล่ม ๑ [หลักสูตรนักธรรมและธัมสึกสาชั้นตรี ]

BIA-P.1.2/179 กล่อง 18

พุทธสาสนสุภาสิต เล่ม ๑ [หลักสูตรนักธรรมและธัมสึกสาชั้นตรี ]

พุทธสาสนสุภาสิต

หมายเหตุ

- หนังสือถูกเย็บรวมกัน 3 เล่ม

พุทธสาสนสุภาสิต เล่ม ๑ [หลักสูตรนักธรรมและธัมสึกสาชั้นตรี ]

หนังสือ พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๑ เรียบเรียงขึ้น โดยกระแสพระราชดำริแห่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ต่อมาหนังสือเล่มนี้ได้ถูกนำมาใช้เป็นหลักสูตรสำหรับตั้งกระทู้ให้เรียงความแก้ สำหรับนักธรรมและธรรมศึกษาชั้นตรี พุทธศาสนสุภาษิตนี้ มีอรรถเป็น ๒ อย่าง คือ แสดงสภาวธรรมและแสดงโอวาท การคัดเลือกสุภาษิตได้ถือหลักนี้ และเว้นภาษิตอื่นอันแย้งกับพุทธวจนะ แบ่งหมวดเป็น 33 หมวด

พิมพ์ครั้งที่ 15 [พ.ศ. 2485]

[1] - [97]

หมายเหตุ

- มีลายมือเขียนด้วยปากกาที่กระดาษห่อปกว่า "พุทธสาสนสุภาสิต เล่ม ๑ - ๒ - ๓ อตฺถิ ปเลติ น อุเปติ สงฺขํ"

- มีลายมือเขียนที่สันหนังสือว่า " พุทธสาสนสุภาสิต."

- มีลายมือเขียนด้วยปากกาที่หน้า 3 ว่า "(ผู้ใด)รักษาตนไว้ได้ ก็รักษาของภายนอกไว้ได้." , "รู้สึกได้แต่ตน ที่ยึดถือว่าตน, ฝึกไปตามทางที่ดี. จนหมดความยึดถือว่าตน เหลือแต่จิตบริสุทธ์ ก็ไม่ยึดถือเป็นตน. จบ"

- มีเขียนตัวเลขที่หน้าปกรอง และหน้า 2, 72, 79

- มีเขียนกากบาท หน้า 11, 41, 63-34

- มีเขียนเครื่องหมายดอกจัน หน้า 21

พุทธสาสนสุภาสิต เล่ม 2 [หลักสูตรนักธรรม และ ธรรมศึกษาชั้นโท ]

- พิมพ์ครั้งที่ 7 [พ.ศ. 2489]

[98] - [177]

หมายเหตุ

- มีลายมือเขียนด้วยปากกาที่หน้า 1 ว่า "ตั้งตนเองให้สมควรเสียก่อน แล้วค่อยสอนผู้อื่น จึงจะไม่เปนบัณฑิตสกปรก."

- มีลายมือเขียนด้วยปากกาที่หน้า 8 ว่า "ความงอก"

- มีลายมือเขียนด้วยปากกาที่หน้า 16 ว่า "การให้อมตะ"

- มีลายมือเขียนด้วยปากกาที่หน้า 17 ว่า "เหตุที่ฟังธรรมไม่รู้เรื่อง" , "ธรรมทำให้วรรณสี่เสมอกันสวรรค์."

- มีลายมือเขียนด้วยปากกาที่หน้า 18 ว่า "(กล่าวอย่างโลกิยะเต็มที่)"

- มีลายมือเขียนด้วยปากกาที่หน้า 19 ว่า "เหตุที่ไม่เห็นธรรม" , "เกิดขึ้นเพื่อประกาศธรรม."

- มีลายมือเขียนด้วยปากกาที่หน้า 20 ว่า "เรียนรู้ คนละอย่างจากการเห็นธรรม."

- มีลายมือเขียนด้วยปากกาที่หน้า 22 ว่า " ? ปล. - คติยํ" , " * ที่เหมือนโจร ?"

- มีลายมือเขียนด้วยปากกาที่หน้า 61 ว่า "ภุญฺช"

- มีแก้คำผิด หน้า 2

- มีวงกลมเน้นคำ หน้า 5, 8

พุทธสาสนสุภาสิต เล่ม 3 [หลักสูตรนักธรรม และ ธรรมศึกษาชั้นเอก ]

- พิมพ์ครั้งที่ 5 [พ.ศ. 2489]

[178] - [268]

หมายเหตุ

- มีเครื่องหมายวงกลม หน้า 1, 11, 13-14

- มีลายมือเขียนด้วยปากกาที่หน้า 8 ว่า "กาม"

- มีลายมือเขียนด้วยปากกาที่หน้า 18 ว่า "ก็ย่อมได้สหาย."

- มีลายมือเขียนด้วยปากกาที่หน้า 20 ว่า ประมาณ (เครื่องกำหนด กฎเกณฑ์ทุกชนิด) ไม่มี (ที่ใช้) แต่บุคคลผู้ถึงซึ่งความดับ(ตัวตนเสียได้). ท่านนั้นเปนผู้ที่ไม่มีเหตุหรือคุณลักษณะอะไรๆ ที่ใดๆ จะกล่าวว่า ท่านเปนอะไรๆ ได้ เมื่อธรรม (สิ่ง) ทั้งปวง ถูกเพิกถอน(ความยึดถือ)เสียแล้ว วาทปถ (คือคำสำหรับเรียกสิ่งนั้นๆ) ทั้งหมดก็พลอยถูกเพิกถอน, (คือไร้ความหมาย) ไปด้วยสิ้น" , "เมื่อธรรมถูกเพิกถอน ชื่อเรียก ก็ไร้ความหมายไปเอง." , "(ทำไมไม่ใส่ในหมวดกิเลส ?)"

- มีลายมือเขียนด้วยปากกาที่หน้า 22 ว่า "ธรรมมีค่าเหนือทุกสิ่ง."

- มีลายมือเขียนด้วยปากกาที่หน้า 23 ว่า "ขุ. ธ. 25/35/21"

- มีลายมือเขียนด้วยปากกาที่หน้า 24 ว่า "อนุตรธรรม" , "(ภาษาคนธรรมดา)"

- มีลายมือเขียนด้วยปากกาที่หน้า 25 ว่า "เหตุที่ไม่เห็นธรรม."

- มีลายมือเขียนด้วยปากกาที่หน้า 26 ว่า "มูลของพรหมจรรย์." , "วิราคธรรม - ยอดแห่งธรรม."

- มีลายมือเขียนด้วยปากกาที่หน้า 27 ว่า "อนามตํ ? แปลอย่างไร"

- มีลายมือเขียนด้วยปากกาที่หน้า 28 ว่า "ทางที่จะเห็นธรรม."

- มีลายมือเขียนด้วยปากกาที่หน้า 29 ว่า "นิพพาน" , "วิเศษ"

- มีลายมือเขียนด้วยปากกาที่หน้า 30 ว่า "พรหมจรรย์ พวกท่านกำลังประพฤติพรหมจรรย์เพื่อเป็นอะไรกัน." , "จบหมวดธรรม." , "* ภาสิตเช่นนี้ เปนพวกกรรมชัดๆ แต่ไม่ยักใส่ไว้ในหมวดกัม."

- มีลายมือเขียนด้วยปากกาที่หน้า 31 ว่า "อุปรุชฺฌติ ความหมายแปลก. (อย่างเดียวกับ น นิสฺสิตํ ? )" , "ดีพิเศษ." , "หมวด กาม"

- มีลายมือเขียนด้วยปากกาที่หน้า 33 ว่า "ไม่ต้องอายสัตว์."

- มีลายมือเขียนด้วยปากกาที่หน้า 34 ว่า "ดี"

- มีลายมือเขียนด้วยปากกาที่หน้า 35 ว่า "สจฺจานิ" , "ดี"

- มีการเขียนข้อความภาษาไทย จัดหมวดธรรม หน้า 38 - 46, 48 - 49

- มีการขีดเส้นใต้ หน้า 11

- มีเครื่องหมายกากบาท หน้า 11, 14

- มีลายมือเขียนที่ปกหลัง

พิมพ์ครั้งที่ 37 [พ.ศ. 2512]

[196] - [281]

หมายเหตุ

-มีประทับตรา "พุทธทาส อินฺทปญฺโญ" ที่ปกหลัง

พ.ศ. 2485 ถึง พ.ศ. 2489

Item

สิ่งพิมพ์บนกระดาษ ปกอ่อน จำนวน 268 หน้า

พุทธสาสนสุภาสิต เล่ม ๑ [หลักสูตรนักธรรมและธัมสึกสาชั้นตรี ]

ของ

สมเด็ดพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวิโรรส

พิมพ์ครั้งที่ ๑๕/๒๔๘๕

จำนวน ๑๐,๐๐๐ ฉบับ

มหามกุตราชวิทยาลัย

สงวนลิขสิทธิ

พุทธศาสนสุภาษิต, พุทธพจน์, พุทธสุภาษิต

พุทธพจน์, พุทธศาสนสุภาษิต, พุทธสุภาษิต